มี |
ข้อ |
เกณฑ์การประเมิน |
ผลดำเนินงาน |
หลักฐาน |
|
1 |
มีระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด |
สำนักฯ มีระบบและและกลไกการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม และดำเนินการตามระบบที่กำหนด ดังนี้
ระบบการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
1. มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ปี 2557- 2561 (สวธ. 6.1-1)
2. สำนักฯ มีประเด็นยุทธศาสตร์สำนักฯ (หน้า 22) ในแผนยุทธศาสตร์สำนักฯ ปี 2557- 2561 (สวธ. 6.1-2)
3. สำนักฯ มีการแบ่งโครงสร้างการแบ่งส่วนงานภายใน อัตรากำลัง และบทบาทความรับผิดชอบงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมอย่างชัดเจน (สวธ. 6.1-1)
กลไกในการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อขับเคลื่อนงานด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อการสนับสนุนการดำเนินงานของสำนักฯ (สวธ. 6.1-3)
2. มีการจัดสรรงบประมาณเพื่อการจัดกิจกรรม/โครงการ มีการกำหนดผู้รับผิดชอบกิจกรรม/โครงการ มีการกำหนดตัวบ่งชี้ ค่าเป้าหมาย เพื่อวัดความสำเร็จของกิจกรรม/โครงการและแผน(สวธ. 6.1-4)
3. มีการรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการงบประมาณประจำปี 2557 ต่อมหาวิทยาลัยและคณะกรรมการประจำสำนัก (สวธ. 6.1-5) (สวธ. 6.1-6)
|
สวธ. 6.1-1 แผนยุทธศาสตร์สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ปี 2557 - 2561
สวธ. 6.1-2 แผนยุทธศาสตร์สำนักศิลปะและวัฒนธรรม ปี 2557 - 2561 (หน้า 22)
สวธ. 6.1-3 คำสั่งคณะกรรมการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
สวธ. 6.1-4 แผนปฏิบัติการงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2557 (อนุมัติครั้งที่ 1)
สวธ. 6.1-5 รายงานผลการปฏิบัติการตามแผนปฏิบัติการงบประมาณ รายไตรมาส
สวธ. 6.1-6 รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำสำนัก วันที 20 มีนาคม พ.ศ. 2557
|
|
2 |
มีการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา |
สำนักฯ มีการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา ดังนี้
ด้านการเรียนการสอน
1. มีการบูรณาการด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน โดยโปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา กำหนดให้นักศึกษาเข้าร่วมจัดและดำเนินการในการปฏิบัติภาวนาและสวดมนต์ ในกิจกรรมตักบาตรวันพุธ ปรากฏใน มคอ.3 วิชาพุทธภาวนา (สวธ. 6.1-7)
2. มีการจัดตั้งพิพิธพันธ์เมืองนครราชสีมา เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ และฝึกปฏิบัติด้านประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม ศาสนา คุณธรรม และจริยธรรมของนักศึกษา ตลอดจนผู้สนใจทั่วไป (สวธ. 6.1-8)
ด้านกิจกรรมนักศึกษา
สำนักฯ มีการดำเนินกิจกรรม “โครงการตักบาตรวันพุธ” ที่ได้ดำเนินติดต่อกันเป็นปีที่ 16 โดยมีการดำเนินกิจกรรมตลอดทั้งปีการศึกษา เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามาร่วมตักบาตรเพื่อพัฒนาจิต และคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์(สวธ. 6.1-9)
|
สวธ. 6.1-7 มคอ.3 วิชาพุทธภาวนา 1 ภาคการศึกษา 2/2556
สวธ. 6.1-8 รูปถ่ายแหล่งเรียนรู้พิพิธพันธ์เมืองนครราชสีมา
สวธ. 6.1-9 รายงานผลการดำเนินงานโครงการตักบาตรวันพุธ 2556
|
|
3 |
มีการเผยแพร่กิจกรรมหรือการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน |
สำนักฯ มีการเผยแพร่กิจกรรมและการบริการด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมต่อสาธารณชน ดังนี้
1. มีแหล่งเผยแพร่และบริการข้อมูลด้านศิลปะและวัฒนธรรม ได้แก่ พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา (สวธ. 6.1-8)
2. มีการจัดทำจดหมายข่าวศิลปวัฒนธรรม เผยแพร่ข่าวสารการดำเนินงานทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมแก่นักศึกษา คณาจารย์ บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง(สวธ. 6.1-10)
3. มีการบริการด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้วยการจัดแสดงดนตรีพื้นบ้านอีสาน (โปงลาง) ต่อหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย (สวธ. 6.1-11)
4. มีการบริการข้อมูลด้านวิชาการทางศิลปวัฒนธรรมแก่สื่อมวลชน ในรูปแบบต่างๆ เช่น สื่อโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ และเว็บไซต์ผ่านระบบอินเตอร์เน็ตwww.koratculture.com, Gotoknow.com, th.Wikipedia.com, FaceBook.com
(สวธ. 6.1-12) (สวธ. 6.1-13)
5. สำนักมีการเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมในระดับนานาชาติ ด้วยการร่วมกิจกรรมเผยแพร่ฯ ในเทศการแสดงดนตรีกลองนานาชาติ ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน (สวธ.6.1-14)
|
สวธ. 6.1-8 รูปถ่ายแหล่งเรียนรู้พิพิธพันธ์เมืองนครราชสีมา
สวธ. 6.1-10 จดหมายข่าวสำนักศิลปะและวัฒนธรรม
สวธ. 6.1-11 เอกสารขอความอนุเคราะห์ ขอใช้บริการ / บันทึกข้อความ และการขอบริการการแสดงวงดนตรีพื้นบ้านอีสาน (โปงลาง)
สวธ. 6.1-12 การเผยแพร่ข้อมูลพิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสีมา ผ่านสื่อออนไลน์ (Internet)
สวธ. 6.1-13 สรุปข่าวเด่นประจำปี 2556 / (2) ภาพการให้ข้อมูลผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
สวธ. 6.1-14 สรุปผลการเผยแพร่วัฒนธรรมไทยในงานกลองนานาชาติสาธารณรัฐประชาชนจีน
|
|
4 |
มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา |
สำนักฯ ได้มีการประเมินผลความสำเร็จของการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ดังนี้
ด้านการเรียนการสอน
สำนักฯ ได้ดำเนินกิจกรรมตักบาตรวันพุธ โดยบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา พุทธภาวนา 1 ปรากฏใน มคอ.3 (สวธ. 6.1-7) โดยผู้สอนโปรแกรมวิชาปรัชญา ศาสนาและเทววิทยา มีการประเมินผลความสำเร็จของกิจกรรม ปรากฏใน มคอ.5 (สวธ. 6.1-15)
ด้านกิจกรรมนักศึกษา
สำนักฯ มีการประเมินผลความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการต่างๆ เช่น โครงการตักบาตรวันพุธ ปรากฎในผลการประเมินความสำเร็จของการดำเนินกิจกรรม ( สวธ. 6.1- 9) |
สวธ. 6.1-7 มคอ.3 รายละเอียดของรายวิชา พุทธภาวนา 1 ภาคการศึกษาที่ 2/2556
สวธ. 6.1-15 มคอ.5 วิชาพุทธภาวนา 1 ภาคการศึกษา 2/2556
สวธ. 6.1-9 รายงานผลการดำเนินงานโครงการตักบาตรวันพุธ 2556
|
|
5 |
มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมนักศึกษา |
สำนักฯ ได้มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอน ดังนี้
ด้านการเรียนการสอน
สำนักฯ ได้นำผลประเมินการปรับปรุงการบูรณาการศิลปวัฒนธรรมกับการเรียนการสอน ที่ระบุไว้ใน มคอ.5 รายวิชาพุทธภาวนา 1 (สวธ. 6.1-15) ไปพัฒนาปรับปรุงการบูรณาการกับการเรียนการสอนใน ปรากฏใน มคอ. 7 รายวิชาพุทธภาวนา 1 (สวธ. 6.1-16)
ด้านกิจกรรมนักศึกษา
สำนักฯ ได้มีการประชุมเพื่อสรุปผลการประเมิน เรื่องการบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนใน “โครงการตักบาตรวันพุธ” เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 โดยมีการระบุแนวทางการดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพในการดำเนินกิจกรรมครั้งต่อไป ( สวธ.6.1- 17) |
สวธ. 6.1-15 รายงานผลการดำเนินงาน (มคอ.5) รายวิชาพุทธภาวนา
สวธ. 6.1-16 รายงานผลการดำเนินงาน (มคอ.7) รายวิชาพุทธภาวนา
สวธ. 6.1-17 สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารและบุคลากรสำนักศิลปะและวัฒนธรรม ครั้งที่ 2/2557 วันพฤหัสบดี ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2557 |
|
6 |
มีการกำหนดหรือสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปะและวัฒนธรรมและมีผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ |
สำนักฯ มีการกำหนดหรือสร้างมาตรฐานคุณภาพด้านศิลปะและวัฒนธรรม ดังนี้
มาตรฐานคุณภาพด้านศิลปะและวัฒนธรรม
สำนักฯ ดำเนินได้โครงการ “การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมมาตรฐานท่ารำพื้นฐานของเพลงโคราช” เพื่อศึกษาข้อมูล และบริบทชุมชนต่อการกำหนดมาตรฐานท่ารำพื้นฐานประกอบการแสดงเพลงโคราช (สวธ. 6.1-18)
ผลงานเป็นที่ยอมรับในระดับชาติ
1. ผลงานวิจัยของสำนักฯ ได้รับการยกย่องจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ในวารสารวิจัยระดับชาติ “การวิจัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่” ว่า เป็นงานวิจัยที่มีความโดดเด่นเป็นต้นแบบสำหรับการพัฒนาเชิงพื้นที่ (สวธ. 6.1-19)
2. สำนักฯ ได้รับการคัดเลือกจากกระทรวงวัฒนธรรม ให้ไปร่วมเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมในเทศกาลการแสดงดนตรีกลองนานาชาติ ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างวันที่ 24-30 กรกฎาคม 2556 ( สวธ. 6.1- 20) |
สวธ. 6.1-18 มาตรฐานท่ารำพื้นฐานของเพลงโคราช
สวธ. 6.1-19 วารสาร วิจัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่
- รายชื่อนักวิจัย
- คำยกย่องชื่นชมในบทบรรณาธิการ ในวารสาร วิจัยเพื่อการพัฒนาพื้นที่ ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 มีนาคม – เมษายน 2557
สวธ. 6.1-14 รายงานสรุปการเดินทางโครงการเผยแพร่วัฒนธรรมไทย ณ สาธารณประชาชนจีน ในมหกรรมกลองนานาชาติเมืองหลานโจว
|